สวัสดีอันนี้ฟิสิกส์นะครับ!!!!
วันพฤหัสบดีที่ 18 เมษายน พ.ศ.2556
อุณหภูมิ
ความสัมพันธ์ของอุณหภูมิ
คามจุความร้อนคือ
ค่าที่แสดงคุณสมบัติในการรับความร้อนของวัตถุ
ความจุความร้อนจำเพาะของสาร (c)
หมายถึง ปริมาณความร้อนที่ทำให้สารมวล 1 หน่วย มีอุณหภูมิสูงขึ้น 1 หน่วย
ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำ = 1 cal / g
= 418×103J/kg.K
ความจุความร้อนจำเพาะของเหล็ก = 0.5×103J/kg.K
ΔQ = mcΔT
ΔQ = ปริมาณความร้อน (cal,J)
m = มวลของวัตถุ(g,kg)
c = ความจุความร้อนจำเพาะ
ΔT = อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไป (oC,K)
ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำ = 1 cal / g
= 418×103J/kg.K
ความจุความร้อนจำเพาะของเหล็ก = 0.5×103J/kg.K
ΔQ = mcΔT
ΔQ = ปริมาณความร้อน (cal,J)
m = มวลของวัตถุ(g,kg)
c = ความจุความร้อนจำเพาะ
ΔT = อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไป (oC,K)
ความร้อนแฝง
ปริมาณความร้อนที่ทำให้วัตถุเปลี่ยนสถานะแต่อุณหภูมิคงที่
ความร้อนแฝงจำเพาะ ( L )
หมายถึง ปริมาณความร้อนที่ทำให้สาร 1 หน่วย เปลี่ยนสถานะแต่ความร้อนคงที่
ความร้อนแฝงจำเพาะ ของการหลอมเหลวของน้ำแข็ง
= 333×103J/kg หรือ 80 cal/g
ความร้องแฝงจำเพาะ ของการกลายเป็นไอของน้ำ
= 2256×103J/kg หรือ 340 cal/g
ΔQรวม=
ΔQ1+ ΔQ2+ ΔQ3+ ΔQ4
น้ำมีจุดควบแน่นอยู่ที่อุณหภูมิเท่าไร และมีค่าความร้อนแฝงจำเพาะของควบแน่นเป็นเท่าไร
ตอบ อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส
ค่าความร้อนแฝงจำเพาะ 2256 103 J / kg หรือ 540 cal / g
น้ำแข็งตัวเป็นน้ำแข็งกับไอน้ำที่ควบแน่นเป็นหยดน้ำในอุณหภูมิที่เท่ากัน กระบวนการใดมีการคายความร้อนมากกว่ากัน
ตอบ ไอน้ำที่ควบแน่นเป็นหยดน้ำ
ก่อนฝนตกเหตุใด เราจึงรู้สึกว่าอากาศรอบตัวเราร้อนกว่าปกติ
ตอบ เพราะ ฝนที่ตกเกิดจากการควบแน่นของไอน้ำในบรรยากาศ การควบแน่นจะมีอุณหภูมิที่สูงและมีการคายความร้อน เราจึงรู้สึกร้อนมากกว่าปกติในช่วงเวลาก่อนที่ฝนจะตก
"คือว่ายังมีอีกแหละ แต่ผมทำทีเดียวมันจะไม่ได้ดูกันเสียปล่าวๆ ผมจะค่อยๆทำไปก่อนนะ"
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น